ตารางแสดงผลสำหรับเจ้าหน้าที่ให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน

โครงการวิจัย เรื่อง “สถานการณ์การของระบบบริการ การดูแลภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ และสาธารณสุขอย่างครบวงจร จังหวัดเชียงใหม่”

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปและการให้บริการในพื้นที่
ตารางแสดงข้อมูลทั่วไปและลักษณะการทำงานของเจ้าหน้าที่ให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน


ลักษณะทั่วไป จำนวน ร้อยละ
เพศ

ชาย

61 43.57 %

หญิง

79 56.43 %

เพศทางเลือก

0 0 %

อายุ

20-24 ปี

6 4.29 %

25-29 ปี

27 19.29 %

30-34 ปี

29 20.71 %

35-39 ปี

19 13.57 %

40-44 ปี

24 17.14 %

45-49 ปี

14 10 %

50-54 ปี

10 7.14 %

55-59 ปี

6 4.29 %

> 59

2 1.43 %

ค่าว่าง

3 2.14 %
ระดับการศึกษาสูงสุด

ไม่ได้เรียนหนังสือ

0 0 %

จบการศึกษาในระดับ

1 0.71 %

ประถมศึกษา

1 0.71 %

มัธยมศึกษา

13 9.29 %

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

3 2.14 %

ปวช./ปวส. /อนุปริญญา

19 13.57 %

ปริญญาตรี

91 65 %

ปริญญาโท/เอก

12 8.57 %
ตำแหน่งหน้าที่ในการปฏิบัติงานในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

พนักงานรับแจ้งเจ็บป่วยฉุกเฉิน

0 0 %

เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งต่อ

3 2.14 %

พนักงานขับรถ

13 9.29 %

พนักงานเปล

9 6.43 %

นักปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ (paramedic)

5 3.57 %

เจ้าพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (Advanced EMT)

12 8.57 %

นักปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์

0 0 %

พนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (EMT)

8 5.71 %

อาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ (EMR)

1 0.71 %

แพทย์อำนวยการปฏิบัติการฉุกเฉิน

1 0.71 %

ผู้กำกับการปฏิบัติการฉุกเฉิน

0 0 %

ผู้จ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน

0 0 %

ผู้ประสานปฏิบัติการฉุกเฉิน

0 0 %

พยาบาลวิชาชีพ

57 40.71 %

พยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน

5 3.57 %

แพทย์

10 7.14 %

แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน

6 4.29 %

อื่น ๆ

9 6.43 %

ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

น้อยกว่า 5 ปี

39 27.86 %

เท่ากับหรือมากกว่า 5 ปี

101 72.14 %
ลักษณะการปฏิบัติงาน (p1q6 จากส่วนของ อปท.)

เจ้าหน้าที่ให้บริการส่วนท้องถิ่น

เขตเทศบาลนคร

10 23.26 %

เขตองค์การบริหารส่วนตำบล

16 37.21 %

เขตเทศบาลตำบล

16 37.21 %

เจ้าหน้าที่ให้บริการส่วนโรงพยาบาล (p1q6 จากส่วนของ เจ้าหน้าที่ รพ.)

โรงพยาบาลศูนย์

38 27.14 %

โรงพยาบาลประจำจังหวัดทั่วไป/ประจำอำเภอ

53 37.86 %

โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย

1 0.71 %

โรงพยาบาลชุมชน

40 28.57 %

โรงพยาบาลเอกชน

8 5.71 %
ชุดปฏิบัติการในหน่วยงานของท่าน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น (FR)

40 22.86 %

ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินระดับต้น (BLS)

22 12.57 %

ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินระดับกลาง (ILS)

6 3.43 %

ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินระดับสูง (ALS)

107 61.14 %
ตารางแสดงการได้รับความรู้และการให้บริการในพื้นที่ของเจ้าหน้าที่ให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินส่วนท้องถิ่น

ระดับการศึกษา จำนวน ร้อยละ
หลักสูตรที่ได้รับการอบรม (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

การปฐมพยาบาลและปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐาน

85 18.52 %

การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น (BLS)

0 0 %

การปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐานและช่วยปฏิบัติการแพทย์ขั้นสูง

0 0 %

การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง (ACLS)

0 0 %

การจัดการสาธารณะภัย (MERT/mini-MERT)

46 10.02 %

การใช้วิทยุสื่อสาร

53 11.55 %

การกู้ชีพและช่วยชีวิตทางน้ำ

18 3.92 %

การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ

31 6.75 %

ซ้อมแผนอัคคีภัย

89 19.39 %

ซ้อมแผนรับอุบัติเหตุหมู่

108 23.53 %

หลักสูตรผู้รับแจ้งเหตุและสั่งการช่วยเหลือ (EMD)

29 6.32 %
การให้บริการในพื้นที่ชุมชนของเจ้าหน้าที่ให้บริการส่วนท้องถิ่น

การให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินของหน่วยงานในพื้นที่

เคย

2 4.65 %

ไม่เคย

41 95.35 %

การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับขั้นตอนการแจ้งเหตุผ่านสายด่วน 1669

เคย

1 2.33 %

ไม่เคย

42 97.67 %

การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติตัว การดูแล และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเกิดภาวะวิกฤติ

ไม่เคย

43 100 %

การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR)

เคย

2 4.65 %

ไม่เคย

41 95.35 %
ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัดเชียงใหม่

ตารางแสดงความคิดเห็นต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัดเชียงใหม่ของเจ้าหน้าที่ให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินส่วนท้องถิ่น
ประเด็น ระดับความคิดเห็น
น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ด้านการบริการรับแจ้งเหตุ 1669 (ศูนย์แจ้งเหตุและสั่งการ)

1 ข้อมูลที่ได้รับจากศูนย์แจ้งเหตุเพียงพอต่อการออกปฏิบัติการ

3 6.98 % 0 0 % 11 25.58 % 22 51.16 % 7 16.28 %

2 การประสานงานกับศูนย์แจ้งเหตุมีความสะดวกรวดเร็วและเข้าใจง่าย

1 2.33 % 0 0 % 8 18.6 % 29 67.44 % 5 11.63 %
ด้านการบริการของชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน (รถพยาบาลฉุกเฉิน/รถกู้ชีพ)

3 หน่วยปฏิบัติการฯ สามารถเข้าถึงที่เกิดเหตุได้รวดเร็ว และถูกต้องทุกครั้ง

0 0 % 0 0 % 0 0 % 0 0 % 0 0 %

4 รถพยาบาลฉุกเฉินมีความพร้อมในการใช้งานตลอดเวลา (สะอาด เรียบร้อย มีอุปกรณ์ครบถ้วน)

0 0 % 0 0 % 5 11.63 % 27 62.79 % 11 25.58 %

5 การเดินทางด้วยรถพยาบาลฉุกเฉินมีความปลอดภัยและรวดเร็ว

1 2.33 % 0 0 % 7 16.28 % 22 51.16 % 13 30.23 %

6 หน่วยปฏิบัติการฯ ทุกคนมีความพร้อมด้านการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยให้ปลอดภัย

0 0 % 0 0 % 1 2.33 % 27 62.79 % 15 34.88 %

7 หน่วยปฏิบัติการฯ ใช้เวลาดูแลรักษาผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุเร็วที่สุดตามประสบการณ์ผู้ปฏิบัติงาน

0 0 % 1 2.33 % 2 4.65 % 26 60.47 % 15 34.88 %

8 หน่วยปฏิบัติการฯ มีการติดตามอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยและให้การช่วยเหลืออย่างถูกวิธี

2 4.65 % 1 2.33 % 3 6.98 % 26 60.47 % 11 25.58 %

9 หน่วยปฏิบัติการฯ มีวัสดุอุปกรณ์ในการดูแลรักษาผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุเพียงพอ

0 0 % 0 0 % 9 20.93 % 27 62.79 % 7 16.28 %

10 หน่วยปฏิบัติการฯ ได้รับการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง

0 0 % 0 0 % 4 9.3 % 31 72.09 % 8 18.6 %

11 หน่วยปฏิบัติการฯ สามารถแจ้งสถานะการปฏิบัติการและติดต่อประสานความช่วยเหลือกับโรงพยาบาลเป้าหมายได้สะดวกและง่าย

1 2.33 % 0 0 % 3 6.98 % 29 67.44 % 10 23.26 %

12 หน่วยปฏิบัติการฯ มีจำนวนเพียงพอต่อการให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง

1 2.33 % 1 2.33 % 7 16.28 % 22 51.16 % 13 30.23 %
ด้านการให้บริการห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล

13 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการมีความเชี่ยวชาญและเพียงพอต่อการให้บริการ

0 0 % 0 0 % 2 4.65 % 31 72.09 % 9 20.93 %

14 ผู้ป่วยทุกคนเข้าถึงการรักษาได้อย่างรวดเร็วและตรงตามสภาพการเจ็บป่วย

1 2.33 % 0 0 % 2 4.65 % 26 60.47 % 14 32.56 %
ตารางแสดงความคิดเห็นต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัดเชียงใหม่ของเจ้าหน้าที่ให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินส่วนโรงพยาบาล

ประเด็น ระดับความพึงพอใจ
น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ด้านการบริการรับแจ้งเหตุ 1669 (ศูนย์แจ้งเหตุและสั่งการ)

1 ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินมีการวางแผนงานที่ชัดเจน

0 0 % 0 0 % 32 22.86 % 87 62.14 % 21 15 %

2 ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษร

0 0 % 4 2.86 % 31 22.14 % 78 55.71 % 27 19.29 %

3 ข้อคำถามที่ใช้ในการคัดแยกระดับผู้ป่วยฉุกเฉินมีความชัดเจน กระชับ และง่ายต่อการตอบคำถามของประชาชน (สามารถสอบถามได้ภายใน 1 นาที)

2 1.43 % 3 2.14 % 41 29.29 % 73 52.14 % 21 15 %

4 ข้อมูลที่ได้รับเพียงพอต่อการคัดสรรชุดปฏิบัติการที่มีความเหมาะสมออกปฏิบัติการ

3 2.14 % 4 2.86 % 52 37.14 % 73 52.14 % 8 5.71 %

5 ระบบสารสนเทศมีข้อมูลที่เพียงพอต่อการตัดสินใจประสานส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานบริการสุขภาพที่เหมาะสม

0 0 % 2 1.43 % 58 41.43 % 64 45.71 % 16 11.43 %

6 การประสานงานระหว่างศูนย์แจ้งเหตุกับศูนย์รับคำสั่งปฏิบัติการมีการเชื่อมต่อได้สะดวกรวดเร็วและเข้าใจง่าย

0 0 % 2 1.43 % 45 32.14 % 75 53.57 % 18 12.86 %

7 ระยะเวลาที่ใช้ในการรับแจ้งเหตุมีความรวดเร็ว

1 0.71 % 1 0.71 % 36 25.71 % 79 56.43 % 23 16.43 %

8 จำนวนศูนย์รับแจ้งเหตุมีความเพียงพอในการให้บริการ

0 0 % 5 3.57 % 46 32.86 % 80 57.14 % 9 6.43 %

9 มีระบบการบันทึกข้อมูลแบบทันที (real time) ตั้งแต่การรับแจ้งถึงส่งผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาล ภายใน 15 นาที

4 2.86 % 16 11.43 % 41 29.29 % 70 50 % 9 6.43 %

10. มีระบบการบันทึกข้อมูลการปฏิบัติการ (ITEMS)ภายใน 8 ชั่วโมงตั้งแต่รับแจ้งเหตุ

3 2.14 % 5 3.57 % 39 27.86 % 76 54.29 % 17 12.14 %
ด้านการบริการของชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน (รถพยาบาลฉุกเฉิน/รถกู้ชีพ)

10 หน่วยปฏิบัติการฯ สามารถเข้าถึงที่เกิดเหตุได้รวดเร็ว และถูกต้องทุกครั้ง

0 0 % 3 2.14 % 45 32.14 % 79 56.43 % 13 9.29 %

11 รถพยาบาลฉุกเฉินมีความพร้อมในการใช้งานตลอดเวลา (สะอาด เรียบร้อย มีอุปกรณ์ครบถ้วน)

1 0.71 % 2 1.43 % 41 29.29 % 76 54.29 % 20 14.29 %

12 การเดินทางด้วยรถพยาบาลฉุกเฉินมีความปลอดภัยและรวดเร็ว

2 1.43 % 7 5 % 51 36.43 % 68 48.57 % 12 8.57 %

13 หน่วยปฏิบัติการฯ ทุกคนมีความพร้อมด้านการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยให้ปลอดภัย

0 0 % 2 1.43 % 26 18.57 % 92 65.71 % 20 14.29 %

14 หน่วยปฏิบัติการฯ ใช้เวลาดูแลรักษาผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุเร็วที่สุดตามประสบการณ์ผู้ปฏิบัติงาน

1 0.71 % 1 0.71 % 22 15.71 % 102 72.86 % 14 10 %

15 หน่วยปฏิบัติการฯ มีการติดตามอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยและให้การช่วยเหลืออย่างถูกวิธี

0 0 % 3 2.14 % 37 26.43 % 86 61.43 % 14 10 %

16 หน่วยปฏิบัติการฯ มีวัสดุอุปกรณ์ในการดูแลรักษาผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุเพียงพอ

1 0.71 % 5 3.57 % 46 32.86 % 71 50.71 % 17 12.14 %

17 หน่วยปฏิบัติการฯ ได้รับการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง

1 0.71 % 4 2.86 % 33 23.57 % 76 54.29 % 26 18.57 %

18 หน่วยปฏิบัติการฯ สามารถแจ้งสถานะการปฏิบัติการและติดต่อประสานความช่วยเหลือกับโรงพยาบาลเป้าหมายได้สะดวกและง่าย

1 0.71 % 0 0 % 42 30 % 78 55.71 % 19 13.57 %

19 หน่วยปฏิบัติการฯ มีจำนวนเพียงพอต่อการให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง

000 000 000 000 000 000 000 000 000 000
ด้านการให้บริการห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล

20 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

1 0.71 % 6 4.29 % 43 30.71 % 71 50.71 % 19 13.57 %

21 มีแนวทาง/ขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างชัดเจนทั้งในภาวะปกติและขณะเกิดภัยพิบัติ

1 0.71 % 0 0 % 27 19.29 % 90 64.29 % 22 15.71 %

22 มีการกำหนดและคัดแยกผู้ป่วยตามระดับความฉุกเฉินทุกครั้ง

1 0.71 % 0 0 % 13 9.29 % 82 58.57 % 44 31.43 %

23 ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตได้รับการ Triage ภายใน 4 นาที

0 0 % 2 1.43 % 24 17.14 % 79 56.43 % 35 25 %

24 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการมีความเชี่ยวชาญและเพียงพอต่อการให้บริการ

0 0 % 4 2.86 % 49 35 % 69 49.29 % 18 12.86 %

25 ผู้ป่วยทุกคนเข้าถึงการรักษาได้อย่างรวดเร็วและตรงตามสภาพการเจ็บป่วย

0 0 % 2 1.43 % 38 27.14 % 83 59.29 % 17 12.14 %

26 ระบบการให้การดูแลผู้ป่วยเฉพาะ (fast track) เช่น ผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง (stroke) ผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด (MI) ฯลฯ

3 2.14 % 2 1.43 % 12 8.57 % 63 45 % 60 42.86 %

27 มีระบบฐานข้อมูลที่สามารถติดตามอาการของผู้ป่วยตั้งแต่จุดเกิดเหตุ จนกระทั่งรักษา และส่งต่อ ที่รวดเร็ว (real-time) และถูกต้อง

2 1.43 % 10 7.14 % 42 30 % 68 48.57 % 18 12.86 %
ส่วนที่ 3 การรับรู้ความพร้อมก่อนออกปฏิบัติการหน่วยกู้ชีพฉุกเฉินเบื้องต้น
ตารางแสดงการรับรู้ความพร้อมก่อนออกปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ให้บริการส่วนท้องถิ่น


ประเด็น ระดับความพึงพอใจ
น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ยานพาหนะ วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์

1 หน่วยงานของท่านมีรถพยาบาลขึ้นทะเบียนเป็นพาหนะปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน 1 คัน พร้อมออกให้บริการผู้ป่วย/บาดเจ็บทันที

0 0 % 1 2.33 % 3 6.98 % 20 46.51 % 19 44.19 %

2 รถพยาบาลฉุกเฉินของหน่วยงานท่านมีอุปกรณ์ในการป้องกันเชื้อโรค

2 4.65 % 0 0 % 10 23.26 % 25 58.14 % 6 13.95 %

3 รถพยาบาลฉุกเฉินของหน่วยงานท่าน มีอุปกรณ์ในการเคลื่อนย้ายและยึดตรึงผู้บาดเจ็บ ได้แก่ กระดานรองหลังชนิดยาว สายรัดตรึงผู้ป่วย

0 0 % 0 0 % 0 0 % 23 53.49 % 19 44.19 %

4 รถพยาบาลฉุกเฉินของหน่วยงานท่าน มีอุปกรณ์ดามแขน ขา เฝือกดามคอ

0 0 % 0 0 % 0 0 % 23 53.49 % 20 46.51 %

5 หน่วยงานท่านมีเครื่องส่งวิทยุสื่อสารพร้อมใช้งาน

0 0 % 1 2.33 % 6 13.95 % 20 46.51 % 17 39.53 %

6 กระเป๋าปฐมพยาบาลหน่วยงานท่านมีอุปกรณ์ช่วยหายใจ ได้แก่ หน้ากากช่วยหายใจ

0 0 % 0 0 % 5 11.63 % 20 46.51 % 18 41.86 %
นโยบาย และการบริหารจัดการ

7 ท่านสามารถให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ ตั้งแต่รับแจ้งเหตุไปยังโรงพยาบาลเป้าหมาย ภายใน 10 นาที

0 0 % 1 2.33 % 6 13.95 % 26 60.47 % 10 23.26 %

8 หน่วยงานท่านมีอาสาสมัครกู้ชีพฉุกเฉิน 2-3 คน อยู่ประจำศูนย์ตลอด 24 ชั่วโมง

1 2.33 % 1 2.33 % 5 11.63 % 20 46.51 % 16 37.21 %

9 การส่งมอบผู้ป่วย ท่านต้องรายงานอาการให้พยาบาลทราบ พร้อมบันทึกรายงานการปฏิบัติการส่งศูนย์สั่งการทุกครั้ง

0 0 % 1 2.33 % -1 -2.33 % 26 60.47 % 17 39.53 %
การช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ

10 ท่านป้องกันการติดเชื้อโดยสวมถุงมือสะอาด สวมผ้าปิดปาก (mask)

0 0 % 0 0 % 4 9.3 % 17 39.53 % 22 51.16 %

11 ท่านป้องกันการเกิดอุบัติเหตุซ้ำซ้อนโดยวางกรวย จราจรเทปสะท้อนแสงกั้นบริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ

2 4.65 % 2 4.65 % 9 20.93 % 23 53.49 % 7 16.28 %

12 ท่านรายงานศูนย์สั่งการเมื่อประเมินผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หรือมีชีพจรเร็ว หายใจหอบ เกิดอุบัติเหตุรุนแรง เพื่อขอความช่วยเหลือทันที

0 0 % 0 0 % 2 4.65 % 19 44.19 % 22 51.16 %

13 เมื่อพบผู้ป่วยหยุดหายใจไม่มีชีพจร ท่านสามารถช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย

0 0 % 0 0 % 2 4.65 % 19 44.19 % 22 51.16 %

14 เมื่อพบผู้ป่วยมีแผลฉีกขาดและมีเลือดออกมาก ท่านสามารถดูแลทำแผลและช่วยห้ามเลือดได้อย่างถูกต้อง

0 0 % 0 0 % 2 4.65 % 19 44.19 % 23 53.49 %

15 เมื่อพบผู้ป่วยปวดต้นคอ สงสัยว่ามีกระดูกหักหรือ บาดเจ็บ ท่านสามารถดูแลดามกระดูกต้นคอและ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย

0 0 % 0 0 % 0 0 % 21 48.84 % 22 51.16 %

16 เมื่อพบผู้ป่วยมีแขนขาปวด บวมผิดรูป ท่านสามารถดูแลดามกระดูกแขน ขาและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย

0 0 % 0 0 % -1 2.33 % 21 48.84 % 23 53.49 %
การเคลื่อนย้ายนำส่งโรงพยาบาลที่เหมาะสม

17 ท่านทำการยึดตรึงผู้ป่วยก่อนเคลื่อนย้ายผู้ป่วยและนำส่งโรงพยาบาล

0 0 % 0 0 % -1 -2.33 % 24 55.81 % 20 46.51 %

18 ท่านดูแลผู้ป่วยโดยประเมินความรู้สึกตัว การ หายใจขณะการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

0 0 % 0 0 % 1 2.33 % 27 62.79 % 15 34.88 %

19 ท่านรายงานศูนย์สั่งการทันทีเมื่อประเมินผู้ป่วยมี อาการเปลี่ยนแปลง

0 0 % 1 2.33 % 1 2.33 % 21 48.84 % 20 46.51 %

20 ท่านมีการบันทึกข้อมูลแบบทันที (real time) ตั้งแต่การรับแจ้งถึงส่งผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาล ภายใน 15 นาที

1 2.33 % 0 0 % 5 11.63 % 21 48.84 % 16 37.21 %

21 ท่านมีการบันทึกข้อมูลการปฏิบัติการ (ITEMS) ภายใน 8 ชั่วโมงตั้งแต่รับแจ้งเหตุ

0 0 % 0 0 % 5 11.63 % 28 65.12 % 10 23.26 %
  • 2019 © JJLIS.