ตารางแสดงผลสำหรับสำหรับผู้ป่วย/ญาติ

โครงการวิจัย เรื่อง “สถานการณ์การของระบบบริการ การดูแลภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ และสาธารณสุขอย่างครบวงจร จังหวัดเชียงใหม่”


ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปและลักษณะการเจ็บป่วยฉุกเฉิน ตารางแสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ลักษณะทั่วไป จำนวน ร้อยละ
ลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม

ผู้ป่วย

0 0 %

ญาติหรือคนใกล้ชิดผู้ป่วย

349 59.97 %

ผู้พบเห็นเหตุการณ์

233 40.03 %
เพศ

ชาย

261 44.85 %

หญิง

321 55.15 %

เพศทางเลือก

0 0 %

อายุ

< 20

26 4.47 %

20-24 ปี

65 11.17 %

25-29 ปี

58 9.97 %

30-34 ปี

59 10.14 %

35-39 ปี

50 8.59 %

40-44 ปี

56 9.62 %

45-49 ปี

50 8.59 %

50-54 ปี

41 7.04 %

55-59 ปี

53 9.11 %

> 60

112 19.24 %
สถานภาพสมรส

ค่าว่าง

1 0.17 %

โสด

155 26.63 %

คู่

386 66.32 %

แยกกันอยู่

10 1.72 %

หย่า/หม้าย

30 5.15 %
ระดับการศึกษาสูงสุด

ค่าว่าง

1 0.17 %

ไม่ได้เรียนหนังสือ

74 12.71 %

จบการศึกษาในระดับ

507 87.11 %

ประถมศึกษา

198 34.02 %

มัธยมศึกษา

157 26.98 %

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

2 0.34 %

ปวช./ปวส. /อนุปริญญา

59 10.14 %

ปริญญาตรี

82 14.09 %

ปริญญาโท/เอก

10 1.72 %

ค่าว่าง

74 12.71 %
ลักษณะอาชีพ

ไม่มีอาชีพ

146 25.09 %

เกษียณ/ว่างงาน

63 10.82 %

พ่อบ้าน/แม่บ้าน

56 9.62 %

นักเรียน/นักศึกษา

27 4.64 %

ผู้พิการไม่ได้ประกอบอาชีพ

0 0 %

มีอาชีพ

436 74.91 %

ค้าขาย

37 6.36 %

รับจ้างทั่วไป

169 29.04 %

ธุรกิจส่วนตัว/อาชีพอิสระ

60 10.31 %

เกษตรกรรม

105 18.04 %

ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ

60 10.31 %

พนักงานของมหาวิทยาลัย

3 0.52 %

พนักงานรัฐวิสาหกิจ

4 0.69 %

พนักงานบริษัท/หน่วยงานเอกชน

17 2.92 %

ค่าว่าง

144 24.74 %
ตารางแสดงข้อมูลทั่วไปและลักษณะการเจ็บป่วยของผู้ป่วย

ลักษณะทั่วไป จำนวน ร้อยละ
เพศ

ชาย

338 58.08 %

หญิง

241 41.41 %

เพศทางเลือก

0 0 %

ค่าว่าง

3 0.52 %
อายุ

< 20

80 13.75 %

20-24 ปี

38 6.53 %

25-29 ปี

38 6.53 %

30-34 ปี

28 4.81 %

35-39 ปี

37 6.36 %

40-44 ปี

32 5.5 %

45-49 ปี

30 5.15 %

50-54 ปี

30 5.15 %

55-59 ปี

46 7.9 %

> 59

223 38.32 %
ลักษณะการพักอาศัย

อยู่คนเดียว

48 8.25 %

อยู่ลำพังกับเด็ก/คนพิการ

3 0.52 %

อยู่ลำพังกับผู้สูงอายุ

15 2.58 %

อยู่กับญาติ

506 86.94 %

พักอยู่ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ หรือบ้านพักต่าง ๆ

7 1.2 %

ค่าว่าง

3 0.52 %
โรคประจำตัว

ไม่มี

323 55.5 %

มี

259 44.5 %

หัวใจเต้นผิดปกติ

19 3.26 %

หัวใจขาดเลือด/กล้ามเนื้อหัวใจตาย

23 3.95 %

หลอดเลือดสมอง

10 1.72 %

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (

16 2.75 %

เบาหวาน

83 14.26 %

ความดันโลหิตสูง

130 22.34 %

ไตวายเรื้อรัง

25 4.3 %

หอบหืด

26 4.47 %

ไขมันในเลือดสูง

64 11 %

อื่น ๆ ระบุ

87 14.95 %
สิทธิการรักษา

ค่าว่าง

3 0.52 %

ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ

42 7.22 %

ไม่มีสิทธิประกันสุขภาพ

21 3.61 %

ไม่สามารถใช้สิทธิประกันสุขภาพที่มีอยู่ได้

7 1.2 %

มีสิทธิประกันสุขภาพ

509 87.46 %

สิทธิประกันสังคม

54 9.28 %

หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง)

358 61.51 %

สวัสดิการข้าราชการ

53 9.11 %

ประกันเอกชน เช่น ประกันอุบัติเหตุ

11 1.89 %

พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

27 4.64 %

สวัสดิการพนักงานรัฐวิสาหกิจ/อปท.

4 0.69 %

สิทธิประกันสุขภาพต่างด้าว

8 1.37 %

อื่น ๆ

18 3.09 %
สาเหตุของการมาใช้บริการ

อุบัติเหตุหรือบาดเจ็บ (Trauma)

296 50.86 %

เจ็บป่วยด้วยโรคฉุกเฉิน (non-Trauma)

286 49.14 %
อาการของผู้ป่วย/บาดเจ็บขณะเข้ามารับบริการ

ฉุกเฉินวิกฤติ

30 5.15 %

ฉุกเฉินเสี่ยง

198 34.02 %

ฉุกเฉินเร่งด่วน

66 11.34 %

ฉุกเฉินไม่รุนแรง

244 41.92 %

ทั่วไปหรือเจ็บป่วยไม่ฉุกเฉิน

39 6.7 %

เสียชีวิต

0 0 %

ค่าว่าง

5 0.86 %
เวลาที่เกิดอุบัติเหตุ/การเจ็บป่วย

ค่าว่าง

3 0 %

ไม่สามารถระบุช่วงเวลาได้

84 0 %

ระบุช่วงเวลาได้

495 0 %

00.01-06.00 น.

90 0 %

06.01-12.00 น.

153 0 %

12.01-18.00 น.

136 0 %

18.01-24.00 น.

115 0 %

ค่าว่าง

88 0 %
ตารางแสดงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน

หัวข้อการได้รับความรู้ จำนวน ร้อยละ
การได้รับความรู้จากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ฉุกเฉิน
ขั้นตอนการแจ้งเหตุผ่านสายด่วน 1669

เคย

176 30.24 %

ไม่เคย

406 69.76 %
การให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินของหน่วยงานในพื้นที่ เช่น อปท.

เคย

163 28.01 %

ไม่เคย

419 71.99 %
ความรู้เรื่องโรคหรืออาการเจ็บป่วยฉุกเฉิน

เคย

180 30.93 %

ไม่เคย

402 69.07 %
วิธีปฏิบัติตัว การดูแล และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเกิดภาวะวิกฤติ

เคย

152 26.12 %

ไม่เคย

430 73.88 %
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR)

เคย

120 20.62 %

ไม่เคย

462 79.38 %
การใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าภายนอกชนิดอัตโนมัติ (AED)

เคย

60 10.31 %

ไม่เคย

522 89.69 %
การได้รับความรู้จากสื่อต่างๆ
ขั้นตอนการแจ้งเหตุผ่านสายด่วน 1669

เคย

240 41.24 %

ไม่เคย

342 58.76 %
การให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินของหน่วยงานในพื้นที่ เช่น อปท.

เคย

187 32.13 %

ไม่เคย

395 67.87 %
ความรู้เรื่องโรคหรืออาการเจ็บป่วยฉุกเฉิน

เคย

197 33.85 %

ไม่เคย

385 66.15 %
วิธีปฏิบัติตัว การดูแล และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเกิดภาวะวิกฤติ

เคย

156 26.8 %

ไม่เคย

426 73.2 %
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR)

เคย

120 20.62 %

ไม่เคย

462 79.38 %
การใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าภายนอกชนิดอัตโนมัติ (AED)

เคย

61 10.48 %

ไม่เคย

521 89.52 %
ส่วนที่ 2 ลักษณะสถานที่เกิดเหตุและการเข้ารับบริการ ตารางแสดงลักษณะสถานที่เกิดอุบัติเหตุหรือเกิดการเจ็บป่วย

ข้อมูล จำนวน ร้อยละ
เขตพื้นที่ที่เกิดเหตุ

ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ

22 3.78 %

เขตเทศบาลนคร

36 6.19 %

เขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

96 16.49 %

เขตเทศบาลตำบล

423 72.68 %

ค่าว่าง

5 0.86 %
สถานที่เกิดอุบัติเหตุ/เจ็บป่วย

ในบ้าน

393 67.53 %

บ้าน/หอพัก

390 67.01 %

บ้านพักคนชรา/บ้านเด็กกำพร้า

1 0.17 %

ค่าว่าง

190 32.65 %

นอกบ้าน

180 30.93 %

สถานที่สาธารณะ เช่น โรงเรียน วัด

4 0.69 %

สนามกีฬาทั้งกลางแจ้งหรือในร่ม

0 0 %

ถนนชนบท/ทางหลวง/ถนนในเมือง

8 1.37 %

ห้างสรรพสินค้า/สถานที่ขายสินค้าหรือบริการ

1 0.17 %

สถานที่ทำงาน

0 0 %

ค่าว่าง

563 96.74 %

ลักษณะของสถานที่เกิดเหตุ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

เป็นภูเขา อยู่ในป่าลึก

25 4.3 %

อยู่ใกล้รถสาธารณะหรือรถรับจ้างประจำทาง

53 9.11 %

อยู่ไกลจากสถานบริการสุขภาพ

43 7.39 %

อยู่ไกลจากถนนหลัก

33 5.67 %

เป็นหมู่บ้านหรือชุมชนอยู่ในย่านรถติด

28 4.81 %

อยู่ในชุมชนที่มีถนนแคบ ไม่สะดวกให้รถเข้า-ออก

23 3.95 %

อยู่ในชุมชนที่ถนนกำลังก่อสร้าง เป็นอุปสรรคหรือไม่สะดวกเดินทางเข้า-ออก

7 1.2 %

อื่น ๆ ระบุ

42 7.22 %
ระยะทางจากสถานที่เกิดเหตุถึงโรงพยาบาล

0-5 กิโลเมตร

140 24.05 %

5.1-10 กิโลเมตร

136 23.37 %

มากกว่า 10 กิโลเมตร

306 52.58 %
ลักษณะสัญญาณโทรศัพท์ในพื้นที่

สัญญาณปกติ สามารถโทรแจ้งเหตุสายด่วน 1669 ได้

550 94.5 %

สัญญาณปกติ แต่โทรแจ้งเหตุสายด่วน 1669 ติดจังหวัดอื่น

9 1.55 %

สัญญาณมีปัญหา ไม่สามารถสื่อสารหรือโทรแจ้งเหตุในบางเครือข่ายบริการ/ทุกเครือข่าย

17 2.92 %

ค่าว่าง

6 1.03 %
ตารางแสดงการรับบริการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

ข้อมูล จำนวน ร้อยละ
การโทรศัพท์แจ้งเหตุ

ไม่ได้โทรศัพท์แจ้งเหตุ

417 71.65 %

โทรศัพท์แจ้งเหตุ

158 27.15 %

ค่าว่าง

7 1.2 %

สายด่วน 1669

95 16.32 %

เบอร์โทรศัพท์ตรงของหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินในพื้นที่

50 8.59 %

เบอร์โทรศัพท์ตรงของโรงพยาบาล

8 1.37 %

แอพลิเคชั่น EMS 1669

1 0.17 %

อื่น ๆ (เช่น เบอร์ 191 สายด่วนอื่น ๆ)

3 0.52 %

ค่าว่าง

425 73.02 %
จำนวนครั้งในการโทรศัพท์แจ้งเหตุ 1669

ค่าว่าง

427 73.37 %

ไม่มีเจ้าหน้าที่รับสาย

152 26.12 %

มีเจ้าหน้าที่รับสาย

3 0.52 %

1-2 ครั้ง

144 24.74 %

3-5 ครั้ง

1 0.17 %

มากกว่า 5 ครั้ง

0 0 %

ค่าว่าง

437 75.09 %
ระยะเวลาตั้งแต่โทรศัพท์แจ้งเหตุจนถึงเจ้าหน้าที่รับสาย

1-2 นาที

27 4.64 %

2.1-5 นาที

6 1.03 %

5.1-10 นาที

2 0.34 %

10.1-15 นาที

2 0.34 %

มากกว่า 15 นาที

0 0 %

ค่าว่าง

444 76.29 %
ระยะเวลาที่ใช้สนทนา/พูดคุยกับที่เจ้าหน้าที่ 166

1-2 นาที

22 3.78 %

2.1-5 นาที

14 2.41 %

5.1-10 นาที

1 0.17 %

10.1-15 นาที

0 0 %

มากกว่า 15 นาที

0 0 %

ค่าว่าง

446 76.63 %
ระยะเวลาตั้งแต่วางสายจนรถพยาบาลฉุกเฉินมารับที่เกิดเหตุ

ไม่มีรถพยาบาลฉุกเฉินมารับผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บ

2 0.34 %

มีรถพยาบาลฉุกเฉินมารับ

147 25.26 %

ค่าว่าง

433 74.4 %

1-2 นาที

000 000

2.1-5 นาที

000 000

5.1-10 นาที

000 000

10.1-15 นาที

000 000

มากกว่า 15 นาที

000 000
การโทรกลับซ้ำของเจ้าหน้าที่

ไม่มีการโทรกลับซ้ำ

0 0 %

โทรกลับซ้ำ

0 0 %

สอบถามเรื่องพิกัดที่เกิดเหตุ

0 0 %

สอบถามเรื่องอาการของผู้ป่วย

0 0 %

ค่าว่าง

582 100 %
วิธีการเข้ามารับบริการในโรงพยาบาล

มากับรถพยาบาลฉุกเฉิน

รถพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล

96 16.49 %

รถตู้หรือรถกระบะการแพทย์ฉุกเฉินของหน่วยงานในพื้นที่ เช่น เทศบาล อปท. อบต.

113 19.42 %

รถตู้หรือรถกระบะการแพทย์ฉุกเฉินของมูลนิธิต่าง ๆ

9 1.55 %

ค่าว่าง

364 62.54 %

มาเอง

รถส่วนตัว

279 47.94 %

รถรับจ้างประจำทาง

10 1.72 %

เดิน

0 0 %

ค่าว่าง

293 50.34 %

ญาติ/ผู้พบเห็นเหตุการณ์เป็นผู้นำส่ง

รถส่วนตัว

67 11.51 %

รถรับจ้างประจำทาง

1 0.17 %

มากับรถของหน่วยงานอื่น ๆ เช่น รถตำรวจ รถพยาบาลของโรงงาน รถโรงเรียน รถยนต์บริษัท เป็นต้น

0 0 %

ค่าว่าง

514 88.32 %
ระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางจากที่เกิดเหตุถึงโรงพยาบาล

1-5 นาที

43 7.39 %

5.1-10 นาที

53 9.11 %

10.1-30 นาที

41 7.04 %

30.1-60 นาที

3 0.52 %

มากกว่า 60 นาที

0 0 %

ค่าว่าง

439 75.43 %
ผลการรักษา

รับไว้ในโรงพยาบาล

321 55.15 %

ห้องผ่าตัด

7 1.2 %

ส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น

21 3.61 %

ปฎิเสธการรักษา/หนีกลับ

0 0 %

กำลังอยู่ระหว่างการรักษาห้อง ER

65 11.17 %

กลับบ้าน

118 20.27 %

เสียชีวิต

2 0.34 %

อื่นๆ

26 4.47 %

ค่าว่าง

22 3.78 %
ส่วนที่ 3 การรู้จักและการใช้บริการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของจังหวัดเชียงใหม่

ข้อมูล จำนวน ร้อยละ
การรู้จักสายด่วน 1669

ไม่รู้จัก

122 20.96 %

รู้จัก

456 78.35 %

ค่าว่าง

4 0.69 %

วิทยุ

106 18.21 %

โทรทัศน์

162 27.84 %

สื่อสิ่งพิมพ์/แผ่นพับ

118 20.27 %

ป้ายประชาสัมพันธ์

318 54.64 %

สื่อสังคมออนไลน์

157 26.98 %

ญาติหรือเพื่อนบ้าน

159 27.32 %

เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล

171 29.38 %

เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล

351 60.31 %

อสม./ผู้นำชุมชน

107 18.38 %

เจ้าหน้าที่กู้ชีพของโรงพยาบาลหรือ อบต./อบจ.

82 14.09 %

เคยเป็นผู้ป่วยฉุกเฉินเอง

27 4.64 %

อาสาสมัครกู้ชีพกู้ภัย เช่น มูลนิธิ อปพร.

42 7.22 %

อื่น ๆ ระบุ

26 4.47 %
การใช้บริการรับแจ้งเหตุ 1669 (ศูนย์แจ้งเหตุและสั่งการ)

ไม่เคย

382 65.64 %

เคย

199 34.19 %

ค่าว่าง

1 0.17 %
สาเหตุที่ตัดสินใจโทรศัพท์แจ้งเหตุ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย

129 22.16 %

รถพยาบาลฉุกเฉินมีอุปกรณ์ให้การช่วยเหลือครบถ้วน

94 16.15 %

รถพยาบาลฉุกเฉินมีเจ้าหน้าที่ที่สามารถช่วยผู้ป่วยได้รวดเร็วในขณะเดินทาง

82 14.09 %

ไม่มีรถยนต์ส่วนตัว หรือไม่มีคนนำส่งโรงพยาบาล

44 7.56 %

ไม่มีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

19 3.26 %

ไม่มีความรู้ในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน

12 2.06 %

ไม่มีเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าภายนอกชนิดอัตโนมัติ หรือ AED ในสถานที่ใกล้เคียง

4 0.69 %

ระยะทางไปโรงพยาบาลห่างไกล หรือการเดินทางลำบาก

13 2.23 %

การเดินทางด้วยรถพยาบาลฉุกเฉินมีความรวดเร็วกว่า

27 4.64 %

เคยได้ยินจากการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ

0 0 %
สาเหตุที่ตัดสินใจไม่โทรศัพท์แจ้งเหตุ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

ไม่รู้จักการแจ้งรถพยาบาลฉุกเฉินผ่านสายด่วน 1669 หรือเลขหมายอื่น ๆ เลย

62 10.65 %

ภาวะตกใจ ไม่ได้นึกถึงรถพยาบาลฉุกเฉิน

66 11.34 %

มีรถส่วนตัว สามารถมาโรงพยาบาลเองได้

274 47.08 %

ไม่อยากเสียเวลารอรถพยาบาลฉุกเฉิน เพราะอาจมาช้า

105 18.04 %

กลัวรถพยาบาลฉุกเฉินเข้าไม่ถึงเนื่องจากอยู่ในพื้นที่ห่างไกล

39 6.7 %

เคยโทรศัพท์แจ้งสายด่วน 1669 แล้ว มีความยุ่งยากในการบอกข้อมูลอาการคนไข้

15 2.58 %

เคยพบกับความยุ่งยากในการบอกข้อมูลหรือระบุสถานที่ที่เกิดเหตุ(

13 2.23 %

กลัวเสียค่าใช้จ่าย

17 2.92 %

รู้สึกว่าอาการบาดเจ็บ/เจ็บป่วยเพียงเล็กน้อย ไม่จำเป็นต้องเรียกรถพยาบาลมารับ

51 8.76 %

คิดว่าอาจจะไม่ได้รับบริการที่ดีตามที่คาดหวังเอาไว้

6 1.03 %

จำเบอร์โทรศัพท์ไม่ได้

12 2.06 %

บ้าน/สถานที่เกิดเหตุอยู่ใกล้โรงพยาบาล

47 8.08 %

กลัวติดเชื้อโรค

1 0.17 %

เคยใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินแล้ว รู้สึกไม่ประทับใจ

0 0 %

อื่น ๆ ระบุ

33 5.67 %
การรู้จักชุดบริการรถพยาบาลฉุกเฉินในท้องถิ่น

ไม่ทราบ

117 20.1 %

ทราบว่าไม่มีหน่วย รถ หรือชุดบริการรถพยาบาลฉุกเฉินในท้องถิ่น

36 6.19 %

ทราบว่ามี

425 73.02 %

ค่าว่าง

4 0.69 %
การได้รับบริการช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่กู้ชีพ ณ สถานที่เกิดเหตุ

ไม่เคย

382 65.64 %

เคย

199 34.19 %

ค่าว่าง

1 0.17 %

การใช้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินจากสถานที่เกิดเหตุมาส่งที่โรงพยาบาล

ไม่เคย

312 53.61 %

เคย

268 46.05 %

ค่าว่าง

2 0.34 %

การใช้บริการที่ห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินหลังจากรถพยาบาลฉุกเฉินไปส่ง

ไม่เคย

77 13.23 %

เคย

504 86.6 %

ค่าว่าง

1 0.17 %

การใช้บริการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลด้วยรถพยาบาลฉุกเฉิน

ไม่เคย

418 71.82 %

เคย

418 71.82 %

ค่าว่าง

5 0.86 %

การใช้บริการในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาล

ไม่เคย

163 28.01 %

เคย

415 71.31 %

ค่าว่าง

4 0.69 %
ส่วนที่ 4 การรับรู้และประสบการณ์การใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน ตารางแสดงการรับรู้เกี่ยวกับระบบการแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัดเชียงใหม่

ประเด็น การรับรู้
ไม่ใช่ ใช่
จำนรวน ร้อยละ จำนรวน ร้อยละ

1 ท่านสามารถเรียกใช้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินได้ตลอด 24 ชั่วโมง

556 95.53 % 26 4.47 %

2 รถพยาบาลฉุกเฉินใช้รับเฉพาะผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุเท่านั้น

188 32.3 % 394 67.7 %

3 การใช้บริการรถพยาบาลฉุกเฉินต้องเสียค่าใช้จ่าย

108 18.56 % 474 81.44 %

4 ท่านคิดว่าการแจ้งข้อมูลเจ็บป่วย และบอกสถานที่เกิดเหตุมีความยุ่งยาก และใช้เวลานาน

173 29.73 % 409 70.27 %

5 ภายในรถพยาบาลฉุกเฉินมีอุปกรณ์ช่วยเหลือชีวิตเบื้องต้นเหมือนกันทุกคัน

439 75.43 % 143 24.57 %

6 รถพยาบาลฉุกเฉินที่มาจากโรงพยาบาลโดยตรงจะมาพร้อมกับเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ด้วยทุกครั้ง

489 84.02 % 93 15.98 %

7 รถพยาบาลฉุกเฉินจากหน่วยงานต่างๆ เช่น อปท. จะไม่มีเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์มาด้วย

360 61.86 % 222 38.14 %

8 รถพยาบาลฉุกเฉินที่มาจากโรงพยาบาลโดยตรง จะสามารถดูแลความปลอดภัยของผู้ป่วย/ผู้บาดเจ็บมากกว่ารถพยาบาลฉุกเฉินที่มาจากเทศบาล อปต. หรือ มูลนิธิ

440 75.6 % 142 24.4 %

9 รถพยาบาลฉุกเฉินจะไม่ไปส่งโรงพยาบาลที่ท่านต้องการ

277 47.59 % 305 52.41 %

10 การรักษาเบื้องต้นบนรถพยาบาลฉุกเฉินเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค

191 32.82 % 391 67.18 %

11 หากท่าน/ผู้ป่วยมีอาการป่วย/บาดเจ็บไม่รุนแรง มียาหรืออุปกรณ์บรรเทาอาการอยู่แล้ว จะไม่อยากใช้รถพยาบาลฉุกเฉิน สามารถมาเองได้

468 80.41 % 114 19.59 %

12 รถพยาบาลฉุกเฉินเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ไปวิธีอื่นปลอดภัยกว่า

203 34.88 % 379 65.12 %

13 จำนวนรถพยาบาลฉุกเฉินมีจำกัด ควรเก็บไว้ช่วยผู้ป่วย/บาดเจ็บที่มีอาการหนักกว่า

391 67.18 % 191 32.82 %
ตารางแสดงความพึงพอใจต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของจังหวัดเชียงใหม่

ประเด็น ระดับความพึงพอใจ
ค่าว่าง น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ด้านการบริการรับแจ้งเหตุ 1669 (ศูนย์แจ้งเหตุและสั่งการ)

1 ความสะดวกรวดเร็วในการโทรศัพท์แจ้งเหตุเพื่อขอความช่วยเหลือ

383 65.81 % 1 0.17 % 3 0.52 % 36 6.19 % 93 15.98 % 66 11.34 %

2 ขั้นตอนการให้บริการ

383 65.81 % 1 0.17 % 4 0.69 % 41 7.04 % 91 15.64 % 62 10.65 %

3 ความชัดเจนในการสื่อสารของเจ้าหน้าที่

383 65.81 % 2 0.34 % 3 0.52 % 30 5.15 % 94 16.15 % 70 12.03 %

4 ข้อคำถามที่เจ้าหน้าที่ซักถาม

383 65.81 % 5 0.86 % 3 0.52 % 34 5.84 % 94 16.15 % 63 10.82 %

5 การได้รับคำแนะนำและคำปรึกษาช่วยเหลือเบื้องต้น

384 65.98 % 5 0.86 % 4 0.69 % 38 6.53 % 90 15.46 % 61 10.48 %

6 ระยะเวลาที่ใช้ในการรับแจ้งเหตุ

385 66.15 % 2 0.34 % 6 1.03 % 39 6.7 % 89 15.29 % 61 10.48 %
ด้านการให้บริการของชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน (รถพยาบาลฉุกเฉิน/รถกู้ชีพ)

1 ความรวดเร็วของชุดปฏิบัติการฯ ในการมาถึงที่เกิดเหตุ

311 53.44 % 2 0.34 % 3 0.52 % 32 5.5 % 130 22.34 % 104 17.87 %

2 การรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ

311 53.44 % 2 0.34 % 0 0 % 43 7.39 % 126 21.65 % 100 17.18 %

3 การพูดคุยกับผู้ป่วย/บาดเจ็บหรือญาติ

311 53.44 % 4 0.69 % 3 0.52 % 39 6.7 % 116 19.93 % 109 18.73 %

4 การประสานงานของเจ้าหน้าที่ ณ จุดเกิดเหตุ

313 53.78 % 1 0.17 % 0 0 % 44 7.56 % 131 22.51 % 93 15.98 %

5 การช่วยเหลือระหว่างการนำส่ง (อุปกรณ์ช่วยย้าย ความชำนาญของเจ้าหน้าที่)

311 53.44 % 2 0.34 % 1 0.17 % 37 6.36 % 123 21.13 % 108 18.56 %

6 ความพร้อมใช้งานของรถพยาบาลฉุกเฉิน (สะอาด เรียบร้อย มีอุปกรณ์ครบถ้วน)

311 53.44 % 3 0.52 % 2 0.34 % 38 6.53 % 126 21.65 % 102 17.53 %

7 การดูแลผู้ป่วยขณะนำส่งโรงพยาบาล

312 53.61 % 1 0.17 % 1 0.17 % 35 6.01 % 126 21.65 % 107 18.38 %

8 ความปลอดภัยเมื่ออยู่บนรถพยาบาลฉุกเฉิน

312 53.61 % 4 0.69 % 1 0.17 % 36 6.19 % 130 22.34 % 99 17.01 %

9 การให้คำแนะนำและคำปรึกษาช่วยเหลือเบื้องต้น

ด้านการให้บริการห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล

1 ความรวดเร็วของการบริการดูแลรักษา

78 13.4 % 13 2.23 % 13 2.23 % 114 19.59 % 196 33.68 % 168 28.87 %

2 การประสานบริการเพื่อการดูแลรักษา โดยเฉพาะการประสานสิทธิการรักษา

79 13.57 % 8 1.37 % 5 0.86 % 118 20.27 % 229 39.35 % 143 24.57 %

3 ขั้นตอนการให้บริการรักษาพยาบาล

79 13.57 % 7 1.2 % 6 1.03 % 96 16.49 % 244 41.92 % 150 25.77 %

4 การพูดจาของผู้ให้บริการ

79 13.57 % 6 1.03 % 5 0.86 % 94 16.15 % 218 37.46 % 180 30.93 %

5 การได้รับคำแนะนำและคำปรึกษาระหว่างการรักษาพยาบาล การส่งต่อ และก่อนกลับบ้าน

82 14.09 % 4 0.69 % 11 1.89 % 89 15.29 % 219 37.63 % 177 30.41 %

6 ข้อมูลข่าวสารที่ได้รับเพียงพอต่อการตัดสินใจใช้บริการรักษาพยาบาล

79 13.57 % 9 1.55 % 10 1.72 % 98 16.84 % 219 37.63 % 167 28.69 %

7 ความเชี่ยวชาญของเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์

79 13.57 % 0 0 % 2 0.34 % 58 9.97 % 239 41.07 % 204 35.05 %

8 จำนวนเจ้าหน้าที่มีความเพียงพอ

81 13.92 % 14 2.41 % 15 2.58 % 116 19.93 % 203 34.88 % 153 26.29 %

9 ผลของการให้บริการที่สามารถช่วยเหลือผู้ป่วย/บาดเจ็บตรงตามสภาพการเจ็บป่วย

81 13.92 % 7 1.2 % 6 1.03 % 74 12.71 % 251 43.13 % 163 28.01 %
ด้านการให้บริการหอผู้ป่วยในโรงพยาบาล

1 ความเชี่ยวชาญของทีมเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัด ฯลฯ

167 28.69 % 6 1.03 % 1 0.17 % 57 9.79 % 183 31.44 % 168 28.87 %

2 การดูแลรักษาและฟื้นฟูขณะรักษาในโรงพยาบาล

167 28.69 % 6 1.03 % 2 0.34 % 65 11.17 % 188 32.3 % 154 26.46 %

3 การเตรียมความพร้อมในการดูแลขณะกลับไปอยู่ที่บ้าน

172 29.55 % 7 1.2 % 12 2.06 % 99 17.01 % 181 31.1 % 111 19.07 %

4 การประสานส่งต่อการดูแลไปยังสถานบริการทางสุขภาพใกล้บ้าน

170 29.21 % 12 2.06 % 12 2.06 % 96 16.49 % 183 31.44 % 109 18.73 %